วันพุธที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ศัพท์ น่ารู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Guard

Guard
A computer system that (a) acts as gateway between two information systems operating under different security policies and (b) is trusted to mediate information data transfers between the two. (See: controlled interface, cross-domain solution, domain, filter. Compare: firewall.) Usage: Frequently understood to mean that one system is operating at a higher security level than the other, and that the gateway’s purpose is to prevent unauthorized disclosure of data from the higher system to the lower. However, the purpose might also be to protect the data integrity, availability, or general system
integrity of one system from threats posed by connecting to the other system. The mediation may be entirely automated or may involve "reliable human review".
                ระบบคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเกตเวย์ระหว่างสองระบบข้อมูล ภายใต้นโยบายด้านการรักษาความปลอดภัยที่แตกต่างกันและเป็นที่ไว้วางใจในการเป็นสื่อกลางในการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างสองข้อมูล

                การใช้ : ความเข้าใจที่พบบ่อยในความหมายหนึ่งของระบบมีการดำเนินการที่มีการรักษาความปลอดภัยในระดับที่สูงกว่าที่อื่นๆและนั้นเป็นวัตถุประสงค์ของเกตเวย์เพื่อป้องกันการเผยแพร่ข้อมูลจากระบบที่สูงสู่ระบบที่ต่ำ อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์อาจจะเป็นการป้องกันข้อมูลที่สมบูรณ์ พร้อมใช้   หรือความสมบูรณ์ของระบบใดระบบหนึ่งจากภัยคุกคามอันเกิดจากการเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ วิธีที่จะไกล่เกลี่ยอาจจะเป็นอัตโนมัติทั้งหมดหรือขึ้นอยู่กับ ความคิดเห็นที่เชื่อถือได้ของมนุษย์

ศัพท์ น่ารู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Gateway

gateway
"(I) An intermediate system (interface, relay) that attaches to two(or more) computer networks that have similar functions butdissimilar implementations and that enables either one-way or twoway
communication between the networks. (See: bridge, firewall,guard, internetwork, proxy server, router, and subnetwork.)Tutorial: The networks may differ in any of several aspects,including protocols and security mechanisms. When two computernetworks differ in the protocol by which they offer service to hosts, a gateway may translate one protocol into the other or otherwise facilitate interoperation of hosts (see: Internet Protocol). In theory, gateways between computer networks are conceivable at any OSIRM layer. In practice, they usually operate at OSIRM Layer 2 (see: bridge), 3 (see: router), or 7 (see: proxy server)."
ระบบกลางที่เชื่อมโยงสองเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีฟังก์ชั่นการทำงานที่คล้ายกันแต่การใช้งานแตกต่างกัน เข้าด้วยกัน ใช้ได้ทั้งการสื่อสารแบบทางเดียวหรือสองทางก็ได้

คำแนะนำ : เครือข่ายอาจมีความแตกต่างกันในหลายแง่มุม รวมถึงโปรโตคอลและกลไลการรักษาความปลอดภัย เมื่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายมีโปรโตคอลโดยโฮสต์ที่แตกต่างกัน เกตเวส์จะทำการแปลงโปรโตคอล หรือช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกันของโฮสต์

วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556

องค์ประกอบของ Ubiquitous learning environment (ULE)

1. ไมโครโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำจะถูกฝังอยู่ในเครื่องทุกเครื่อง/ข้อมูลไมโครโปรเซสเซอร์แต่ละคนมีอยู่ในเครื่องของตนเอง สำหรับวิธีการเรียน เซ็นเซอร์จะทำหน้าที่ตรวจสอบสถานะของผู้เรียน และจึงส่งข้อมูลไปยังผู้เรียนผ่าน PDA
2.  ULE Server module   เซิร์ฟเวอร์สำหรับระบบบริหารจัดการเรียนการสอน จัดเก็บทรัพยากรสื่อการศึกษา หน่วยการเรียน ช่วยเหลือให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์  สามารถวิเคราะห์ตอบคำถามผู้เรียนแบบสั้นและส่งกลับไปยังอุปกรณ์เคลื่อนที่ของนักเรียน
3.  เทคโนโลยี Wireless อยู่ในรูปแบบ Bluetooth และ Wifi
4. เซ็นเซอร์ ทำหน้าที่ตรวจจับการเคลื่อนไหว  รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทำให้รับรู้สถานะของผู้เรียน

แนวคิดในการพัฒนา U-learning คือ ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นได้มากกว่าอุปกรณ์พกพา  เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่คิดค้นและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนยุทธวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีในรูปแบบของ U-learning เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

วันพุธที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Ubiquitous Learning

ยูบิควิตัส (Ubiquitous) เป็นภาษาละตินแปลว่า “อยู่ในทุกแห่ง” หรือ “มีอยู่ทุกแห่ง” ซึ่งก็หมายถึงคอมพิวเตอร์นั้นเอง ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาไม่แพงมาก ทำให้สามารถใช้ได้ทุกหนทุกแห่ง U-Learning นี้เกิดจากการรวมกันระหว่าง e-learning และ m-learning
                คุณลักษะของ U-Learning มีดังนี้
1.             Permanency มีความคงทน ถาวร ข้อมูลจะมีอยู่จนกว่าผู้เรียนจบลงข้อมูลของตนเอง
2.             Immediacy มีความรวดเร็วในการแสดงผล เมื่อผู้เรียนเรียกข้อมูล
3.             Interactivity มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน หรือผู้เชี่ยวชาญ และปฏิสัมพันธ์กับสื่อการสอน
4.             Awareness มีความตระหนักถึงโลกแห่งความเป็นจริง มีสภาพแวดล้อมที่สามารถปรับให้เข้ากับสถานการณ์จริง ผู้สอนต้องให้ข้อมูลที่เพียงพอสำหรับผู้เรียน
E-learning จะเน้นเรื่องของคอมพิวเตอร์และเน็ตเวิร์ก ส่วน M-learning เน้นเรื่องของอุปกรณ์มือถือและการติดต่อสื่อสารแบบไร้สาย ในส่วนของ U-Learning ตามบริบทและสภาพแวดล้อมนั้น จะเน้นเรื่องของเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ อุปกรณ์มือถือและการติดต่อสื่อสารแบบไร้สาย

U-Learning สามารถลดข้อจำกัดทางกายภาพของการเรียนรู้แบบดังเดิม โดยบูรณาการการเรียนเข้ากับคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง มีนวัตกรรมยอดเยี่ยมในการส่งผ่านความรู้ทางการศึกษา เพื่อให้สามารถรับความรู้ในรูปแบบส่วนบุคคลและสไตล์การเรียนรู้ตามความต้องการของผู้เรียนแต่ละคนได้ดี ในการศึกษาดังกล่าวได้มีการพัฒนารูปแบบของ ULE (Ubiquitous learning environment)โดยใช้ฐานทฤษฏีคอนสตรัลติวิสต์ (Constructivism) ในการพัฒนารูปแบบ